การเข้าเรียนครั้งที่ 1
- เช็คชื่อนักศึกษาเวลา 14.10 น.
- อาจารย์แจกกระดาษคนละ 1 แผ่น
- สร้างข้อตกตกลงในรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย กฏกติการ มารยาท
การแต่งตัว การเข้าเรียนในชั้นเรียน
- สร้างข้อตกลงการทำบล็อก และอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ในการทำ
- อาจารย์ตั้งคำถามเปรียบเทียบว่าวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาและการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
แตกต่างกันอย่างไร
- อาจารย์ให้คำแนะนำว่าการเข้าเรียนต้องมีสมุดโน้ตทุกครั้งในการเข้าเรียน
- อาจารย์ให้เขียนว่าคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร มา 2 ประโยค ( อธิบาย )
- อาจารย์ให้เขียนการคาดหวังหรือประสบการณ์ในเรื่องอะไรในรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
สำหรับเด็กปฐมวัย
ทฤษฎีเพียเจต์
เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือ
กระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่ง
แวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไป
ตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจาก
พัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริม
พัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่าง
รวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่า
การกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับ
ระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) แรกเกิด-2 ปี
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) 2-4 ปี และ 2-6 ปี
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) 4-6 ปี
การพัฒนาการทักษะทางด้านคณิตศาสตร์
สรุป
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับเด็ก
โดยใช้การเล่นเป็นฐาน ซึ่งเน้นกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เด็กสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เป็นการพัฒนาทักษะของเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมตามวัย ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่ทักษะคณิตศาสตร์ขั้นสูง
ต่อไปได้ รวมทั้งทักษะด้านอื่น ๆ ด้วย
คณิตศาสตร์เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เด็กสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เป็นการพัฒนาทักษะของเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมตามวัย ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่ทักษะคณิตศาสตร์ขั้นสูง
ต่อไปได้ รวมทั้งทักษะด้านอื่น ๆ ด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น